วันพุธที่ ๓๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑

:: 2008 Ahmedabad bombings ::


The 2008 Ahmedabad bombings were a series of seventeen bomb blasts that hit Ahmedabad, India, on July 26, 2008, within a span of seventy minutes. Forty-nine people were killed and over one hundred and sixty were injured. Ahmedabad is the cultural and commercial heart of Gujarat state, and a large part of western India. The blasts were considered to be of low intensity, and were similar to the Bengaluru blasts which occurred the day before.

Several TV channels said they had received an e-mail from a terror outfit called Indian Mujahideen claiming responsibility for the terror attacks; however, Islamic militant group Harkat-ul-Jihad-al-Islami has claimed to be responsible for the attacks.In 2002, Gujarat suffered from communal riots.
These bombings occurred a day after the Bengaluru blasts and a day before a bomb blast in the Indian state of Jharkhand .

วันศุกร์ที่ ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑

:: ข้อเท็จจริงของชื่อ "ประเทศไทย" หรือ "ประเทศสยาม" ::

คนไทยนั้นไม่เคยเรียกตนเองว่า "สยาม" เลย นอกจากจะเรียกว่า "ไทย" แต่ชาวต่างชาตินิยมเรียกประเทศไทยว่า สยาม (Siam) และเรียกคนไทยว่า "ไซมีส" (Siamese) สำหรับลำดับการเรียกชื่อประเทศในสังคมไทยนั้น พอจะสรุปได้ ดังต่อไปนี้ คือ

๑. เดิมทีคนไทยเรียกชื่อประเทศโดยใช้ชื่อเมืองหลวงเป็นชื่อประเทศ เช่น กรุงสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา จนถึง กรุงรัตนโกสินทร์

๒. ในสมัยรัชกาลที่ ๓ ขณะที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงทำหนังสือสัญญากับต่างประเทศ ได้เรียกชื่อประเทศว่า กรุงศรีอยุธยา

๓. ในสมัยรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงแยกชื่อเมืองหลวงออกจากชื่อประเทศ ตามแบบตะวันตก คือ เรียกประเทศว่า "สยาม" โดยได้ทรงลงพระปรมาภิไธยว่า Rex Siamensis

๔. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ใช้ชื่อว่ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม และมาตรา ๑ ระบุว่า "ประเทศสยามเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกไม่ได้"

๕. พ.ศ. ๒๔๐๘-๒๔๘๑ ในสัญญาทางพระราชไมตรีการพาณิชย์ การเดินเรือกับต่างประเทศใช้คำว่า "ประเทศสยาม" "ราชอาณาจักรสยาม" "รัฐบาลสยาม" แต่เมื่อกล่าวถึงภาษาใช้คำว่า "ภาษาไทย" และมีบางแห่งใช้ไทยและสยามปน ๆ กันไป

๖. พ.ศ. ๒๔๘๒ ในสมัยจอมพลหลวงพิบูลสงคราม มีการประกาศใช้ประกาศรัฐนิยม ฉบับที่ ๑ ให้ใช้ชื่อ ประเทศ ประชาชน และสัญชาติว่า "ไทย"

๗. รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยนามของประเทศปีพุทธศักราช ๒๔๘๒ เมื่อวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ โดยเฉพาะอย่างยิ่งได้บัญญัติไว้ในมาตรา ๓ ว่า ให้เรียกชื่อประเทศว่า "ประเทศไทย" และบทรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมายอื่นที่ใช้คำว่า "สยาม" ให้ใช้คำว่า "ไทย" แทน จึงเท่ากับเป็นการฆ่าคำว่า "สยาม" ให้ตายไปโดยสิ้นเชิง นับตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมาจะต้องเรียกคนไทยว่า "ไทย" (Thai) และเรียกชื่อประเทศว่า ประเทศไทย (Thailand) ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีในสมัยนั้น

๘. ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ สิ้นสุดลง รัฐบาลของนายทวี บุณยเกตุ ประกาศใช้ชื่อประเทศไทยใน ภาษาอังกฤษและฝรั่งเศสว่า "Siam" ชื่อประเทศไทยและภาษาไทยว่า "ประเทศไทย" ส่วนสัญชาติ ผู้ถือหนังสือเดินทางเขียนเป็นภาษาฝรั่งเศสว่า "Siamois" ในขณะเดียวกันนั้น ประเทศอังกฤษได้ขอตั้งเงื่อนไขขอเรียกชื่อประเทศไทยว่า "ประเทศสยาม" ซึ่งรัฐบาลไทยก็มิได้ขัดข้องประการใด จึงดูเหมือนว่าชาวต่างประเทศจะเรียก สยาม ก็ได้ ไทย ก็ได้

๙. เมื่อเกิดรัฐประหาร ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๐ นายควง อภัยวงศ์ นายกรัฐมนตรี คงเรียกประเทศว่า "ประเทศไทย" ส่วนการเรียกในภาษาอังกฤษและฝรั่งเศสให้เรียก "Siam"

๑๐. เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๑ เมื่อจอมพลหลวงพิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีแทนนายควง อภัยวงศ์ รัฐบาลกลับเปลี่ยนชื่อประเทศไทยในภาษาอังกฤษว่า "Thailand" และฝรั่งเศสว่า "Thailande" ซึ่งคงใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้

๑๑. รัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๔๙๒ ได้เขียนลงไว้ว่า "ประเทศไทย"

๑๒. พ.ศ. ๒๕๑๑ สภาร่างรัฐธรรมนูญมีการอภิปรายเปลี่ยนชื่อจาก "ไทย" เป็น "สยาม" แต่สมาชิกส่วนมากไม่ยอมรับ

๑๓. พ.ศ. ๒๕๑๗ สภาร่างรัฐธรรมนูญได้อภิปรายในเรื่องเดียวกัน

Credit ::เว็บไซต์ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

วันพุธที่ ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑

:: "โรควุ้นในลูกตาเสื่อม" สำคัญมากสำหรับคนเล่นคอม ::

คนที่เล่นคอมพิวเตอร์เกือบทุกคนเป็นโรค 'วุ้นในลูกตาเสื่อม'
ตอนนี้ในประเทศไทยมีคนเป็นโรค 'วุ้นในลูกตาเสื่อม' ถึง 14 ล้านคนแล้วจากข้อมูลทางหนังสือพิมพ์

คนที่ไม่รู้ตัวเองว่าตัวเองก้อเป็นมากขนาดไหน?
อาการก็คือ คุณจะเห็นเป็นคราบดำๆ เหมือนยักใย่ ลอยไปลอยมาเหมือนคราบที่ติดกระจก จะเห็นชัดก็ต่อเมื่อ คุณมองไปยังภาพแบล็คกราวนด์ที่มีสีสว่าง เช่น ท้องฟ้าขาวๆ ฝาห้องขาวๆ ฝาห้องน้ำขาวๆ จะเห็นเป็นคราบดำๆ ลอยไปลอยมา
ถ้าอาการมากกว่านั้นก็คือ ประสาทตาฉีกขาด คุณจะมองเห็นแสงแฟลชในที่มืด ไม่ว่าหลับตาหรือลืมตา (น่ากลัวมากๆ)
และถึงขั้นนี้จะต้องผ่าตัด(ซึ่งไม่มีอะไรรับประกันว่าจะดีเหมือนเดิม จะตาบอดหรือไม่?)
สาเหตุของโรคนี้คือ การใช้สายตามากเกินไป(เล่นคอม) แต่ก่อนโรคนี้จะเกิดกับผู้สูงอายุ หรือ คนที่มีอาชีพใช้สายตามากๆ เช่น ช่างเจียรไนเพชรพลอยที่ต้องใช้สายตาเพ่งมากๆ แต่เดี๋ยวนี้คนเป็นโรควุ้นในลูกตาเสื่อมกันมากเพราะ เล่นเนต หรือ เล่นคอม

ถามว่าทำไม คนเล่นเนต เล่นคอม ถึงเป็นกันมาก?
ไม่ว่าคุณจะเล่นเนต,เล่นเกมส์, อ่านไดอารี่,อ่านบทความ! ,อ่านหนังสือหรืออะไรก็ตาม ที่อยู่บนจอคอมพิวเตอร์ ล้วนทำให้สายตาคุณเสียได้ทั้งสิ้นเพราะว่า ถ้าคุณอ่านหนังสือที่เป็นแผ่นกระดาษธรรมดาๆ 'ระยะห่างระหว่างลูกตา กับ ตัวหนังสือ จะคงที่ แน่นอนเพราะขอบของตัวหนังสือจะคมชัด ทำให้สมองกะระยะโฟกัสได้ถูกต้องแน่นอน กล้ามเนื้อและประสาทตา จึงทำงานค่อนข้างคงที่
แต่ ! ตัวหนังสือบนจอคอมพิวเตอร์นั้น มีลักษณ์เป็นจุดๆ ประกอบกัน เหมือนแขวนลอยบนจอ ขอบของตัวหนังสือไม่ชัด สมองจะสับสนในการปรับระยะโฟกัส(เพราะจอแก้ว จะมีความหนาของแก้ว แต่เรามองผ่านมันไป และจอ LCD เราก้อต้องมองผ่านเข้าไปเหมือนกัน ตัวหนังสือมันไม่ได้ติดอยู่ด้านบนเหมือนอยู่บนแผ่นกระดาษ)การปรับระยะโฟกัสจึงไม่แน่นอน บวกกับ ลักษณะการอ่านหน้าหนังสือในคอมนั้น จะต้องใช้เม้าส์จิ้ม ลากแถบด้านข้างจอ เพื่อเลื่อนบรรทัดหนังสือขึ้นลงเพื่อจะอ่านบรรทัดด้านล่างได้ หรือไม่ก้อ ใช้ลูกหมุนที่อยู่บนเม้าส์หมุนเพื่อเลื่อนบรรทัดหนังสือ

แต่ การเลื่อนบรรทัดนี้ มันไม่เหมือนกับการอ่านหนังสือจากแผ่นกระดาษที่แขนกับคอ จะปรับการมองขึ้นลงโดยอัตโนมัติ มีระยะที่แน่นอนสัมพันธ์กัน แต่ว่าการเลื่อนบรรทัดด้วยแถบด้านข้าง หรือลูกกลิ้งบนม้าส์นั้น มันจะมีลักษณะการเลื่อนแบบกระตุกๆ (คุณสังเกตุดู)

มันจึงทำให้ปวดตามากๆ เพราะลูกตา จะต้องลากลูกตาเลื่อนตามบรรทัดที่กระตุกๆ นั้นไปตลอด บวกกับ การพิมพ์ตัวหนังสือนั้น บางที คุณต้องก้มเพื่อมองนิ้ว ว่ากดตำแหน่งบนแป้มพิมพ์ถูกตัวอักษรหรือไม่ ทำให้เดี๋ยวก้มเดี๋ยวเงย ลูกตาปรับโฟกัสบ่อยเกิน ทำให้ลูกตาทำงานหนัก กว่าจะพิมพ์งานเสร็จคุณจะปวดตามากๆๆ อย่างเด็กนักศึกษา เร่งพิมพ์รายงานส่งอาจารย์ ติดต่อกันข้ามคืนสองสามวัน ตาจะปวดมากๆ รวมทั้งเวลาการเปิดโปรแกรม word ในการพิมพ์ตัวหนังสือมักจะมีสีพื้นที่เป็นสีสว่าง(ที่นิยมก้อคือตัวหนังสือดำ พื้นสีขาว ) สีพื้นที่สว่างขาวจ้า นี่เอง ทำให้ตาคุณจะเกิดอาการแพ้แสงถ้ามีการพิมพ์ติดต่อกันนานๆ เพราะจ้องจอสีขาวนานเกินไปหรือไม่ก้อ ในคนที่ชอบเล่นเกมส์บ่อยๆมักจะมีการปรับแสงสว่างให้จ้าที่สุด เพราะเวลาเล่นเกมส์ภาพพื้นหลังของเกมส์มักจะมืดๆ

สรุปก็คือ

1. การมองตัวหนังสือที่แขวนลอยอยู่ในจอ โฟกัสไม่แน่นอน กล้ามเนื้อลูกตาทำงานหนัก 'ทำให้สายตาเสีย'
2. การเลื่อนตัวหนังสือและแถบบรรทัด ในหน้าคอม หรือ หน้าเนต มันจะเลื่อนแบบเป็นกระตุกๆ ทำให้สายตาเสีย การกระตุกๆ ของแถบบรรทัดนี่เอง ที่ทำให้สายตาเสีย
3.การก้มๆเงยๆ มองแป้นพิมพ์ และมองจอคอม กลับไปกลับมา 'ทำให้สายตาเสีย '
4.การปรับจอภาพที่มีแสงสว่างจ้า มากเกินไปโดยไม่รู้ตัว 'ทำให้สายตาเสีย'(ข้อนี้ คล้ายๆ กับ การเปิดดูทีวี ในห้องมืดๆ เป็นประจำแล้วทำให้สายตาเสียน่ะเอง อย่างเดียวกัน)
5.การใช้จอคอม ที่มีความกว้างมากเกิน !!(จอคอมกว้างๆ นั้น เหมาะสำหรับการดูภาพ ดูหนัง แต่ไม่เหมาะกับการดูตัวหนังสือ !!)
เพราะว่า สายตาคนเรานั้นมีระยะการมองตัวอักษรที่ 1 ฟุต (12นิ้ว)แต่จอคอมสมัยใหม่ กลับมีความกว้าง 17 นิ้ว 19 นิ้ว หรือมากกว่านั้น ซึ่งมันกว้างเกินระยะกวาดสายตามอง จากขอบหนึ่งไปสู่ อีกขอบหนึ่ง (ทำให้ปวดทั้งคอ ทั้งลูกตา)

เครดิต : dek-d.com ;P

วันอาทิตย์ที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑

:: Violon ::


Le violon est un instrument de musique à cordes frottées. Un violon est constitué de 71 éléments en bois (épicéa, érable, buis, ébène, etc.) collés ou assemblés les uns aux autres. Il possède quatre cordes accordées à la quinte, que l'on peut frotter avec un archet ou pincer en pizzicato. La famille du violon inclut également l'alto, le violoncelle et la contrebasse ; le violon est le plus petit de ces instruments et celui offrant la tessiture la plus aiguë.


Un violon se compose de 3 parties principales : les cordes, la caisse de résonance et le manche. Sa longueur est variable. Un violon de taille maximale est appelé un entier, et est destiné aux violonistes ayant atteint leur taille adulte ; il mesure généralement 59 cm de long, du bouton à l'extrémité de la tête. Il existe une échelle non proportionnelle de longueur des violons : les sept-huitièmes ; les trois-quarts, qui font 56 cm ; les demis, 53 cm ; viennent ensuite les quarts (48 cm), les huitièmes (44 cm), et les seizièmes (37 cm),[réf. nécessaire] ces derniers étant destinés aux violonistes très jeunes (en général, 3 ans).


วันเสาร์ที่ ๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑

Independence Day (United States)


In the United States, Independence Day, commonly known as the Fourth of July, is a federal holiday commemorating the adoption of the Declaration of Independence on July 4, 1776, declaring independence from the Kingdom of Great Britain. Independence Day is commonly associated with fireworks, parades, barbecues, carnivals, picnics, concerts, baseball games, political speeches and ceremonies, and various other public and private events celebrating the history, government, and traditions of the United States.

During the American Revolution, the legal separation from Great Britain occured on July 2, 1776, when the Second Continental Congress voted to approve a resolution of independence that had been proposed in June by Richard Henry Lee of Virginia.After voting for independence, Congress turned its attention to the Declaration of Independence, a statement explaining this decision, which had been prepared by a committee with Thomas Jefferson as its principal author. Congress debated and revised the Declaration, finally approving it on July 4. A day earlier, John Adams had written to his wife Abigail

Adams's prediction was off by two days. From the outset, Americans celebrated independence on July 4, the date shown on the much-publicized Declaration of Independence, rather than on July 2, the date the resolution of independence was approved in a closed session of Congress.

One of the most enduring myths about Independence Day is that Congress signed the Declaration of Independence on July 4, 1776.The myth had become so firmly established that, decades after the event and nearing the end of their lives, even the elderly Thomas Jefferson and John Adams had come to believe that they and the other delegates had signed the Declaration on the fourth.Most delegates actually signed the Declaration on August 2, 1776.