วันอาทิตย์ที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๑

Cet article retrace les grandes étapes qui jalonnent l'histoire de la photographie, principalement vue sous son aspect technique.

La photographie pouvant être considérée comme une technique propre à supplanter le dessin ou la peinture pour représenter le monde qui nous entoure, son invention nécessitait, d'une part la réalisation d'un dispositif optique permettant la création de l'image, et d'autre part de fixer cette image sur un support pérenne par un processus chimique irréversible.

Par ailleurs les usages de cette technique a évolué, et sa dimension artistique a notamment été reconnue.

À l'époque de la Renaissance, les peintres italiens commencent à découvrir les lois de la perspective. Pour simplifier le tracé de leurs paysages, ils utilisent deux appareils optiques qui permettent de projeter sur une surface une image d'un paysage ou d'un objet : la chambre claire et la chambre noire (voir l'article Chambre noire).

Cette dernière était déjà connue par Aristote (384-322 av. J.-C.), par le savant arabe Ibn Al-Haytham (965-1038) et par Léonard de Vinci (1452-1519) ; on peut la considérer comme l'ancêtre des appareils photographiques. Elle est constituée par une boîte fermée, étanche à la lumière, dont une des faces est percée d'un tout petit trou, le sténopé. L'image inversée d'un objet éclairé placé à l'extérieur devant le trou se forme sur la paroi opposée.

Elle fut employée par de nombreux artistes, dont Giambattista della Porta, Vermeer, Guardi et Giovanni Antonio Canal, dit Canaletto, qui l'utilisa notamment pour mettre en perspective ses célèbres paysages des canaux de Venise.

วันอาทิตย์ที่ ๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๑

:: แพนด้ายักษ์ยุคดึกดำบรรพ์ในจีน ::

ไจแอ้นท์แพนด้า แพนด้ายักษ์ หรือที่ชาวจีนเรียก ต้าสงเมา มีกำเนิดมาบนโลกมนุษย์ เมื่อราว 8-9 ล้านปีก่อน ในช่วงปลายสมัยอีปอชไมโอซีน (เริ่มต้นเมื่อ 25 ล้านปีก่อน กินเวลาประมาณ 12 ล้านปี) ตามที่มีการพบหลักฐาน เป็นซากฟอสซิลแพนด้าดึกดำบรรพ์ บรรพบุรุษของแพนด้ายักษ์ ที่มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Ailuaractos Lufengensis บริเวณรอบๆป่าเขตร้อนชื้น ในมณฑลหยุนหนันทางภาคใต้ของจีน

แพนด้าดึกดำบรรพ์ในจีน ได้วิวัฒนาการมาเป็นแพนด้า ที่มีขนาดเล็กกว่าในปัจจุบันครึ่งหนึ่ง มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Ailuropoda micrta ตัวเท่าสุนัขอ้วนๆ มีชีวิตอยู่เมื่อ 3 ล้านปีก่อน

จากหลักฐานการพบซากฟอสซิลของแพนด้าชนิดนี้ในเขตปกครองตนเองชนชาติจ้วง กว่างซี(กวางสี) มณฑลกว่างตง(กวางตุ้ง) ซื่อชวน(เสฉวน) ส่านซี และหยุนหนัน แพนด้ายักษ์พันธุ์เล็กมีชีวิตอยู่มาได้ 2 ล้านปี ก็เริ่มขยายถิ่นที่อยู่เข้ามาในแถบป่าร้อนชื้น และค่อยๆปรับตัวเข้ากับชีวิตในป่าไผ่เขตร้อนแถบเอเชีย และวิวัฒนาการมาเป็นแพนด้าที่ตัวใหญ่ขึ้น

ในประเทศจีนยังมีการพบซากฟอสซิลแพนด้ายักษ์ชนิด Ailuropoda milanoleuca wulishansis มีขนาดตัวเป็น 1 ใน 8 ของแพนด้าในปัจจุบันเท่านั้น และชนิด Ailuropoda milanoleuea daconi ซึ่งเป็นแพนด้ายักษ์ที่มีชีวิตอยู่ในราว 500,000-700,000 ปีก่อน ซึ่งในยุคนี้นับเป็นยุคเฟื่องฟูที่สุดของแพนด้า เพราะพบกระจายอยู่ตามถิ่นต่างๆทางตะวันตก ตะวันออก จีนตอนกลาง ใต้ และเหนือ ใน 16 มณฑลของจีน จากเหนือสุดที่พบในตำบลโจวโข่วเตี้ยนในปักกิ่ง จนถึงใต้สุดในเกาะไต้หวัน บางส่วนในพม่า เวียดนาม และทางตอนเหนือของไทยด้วย

จะเห็นว่าแพนด้ายุคดึกดำบรรพ์เขาอยู่กันกระจัดกระจายสบายใจ มีชีวิตอย่างผาสุกร่วมยุคกับมนุษย์วานรปักกิ่ง เสือฟันดาบ และช้างแมมมอธ นั่นเลย