วันศุกร์ที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐

วันเสาร์ที่ ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐

:: ที่มาของ "ถุงกระดาษ" ::



'ถุงกระดาษ' ดูเป็นของที่ไม่ค่อยมีใครสนใจ เห็นทุกวันใช้ทุกวัน ใช้ใส่ของเสร็จแล้วทิ้ง... จบเท่านั้น
แต่ถ้าคิดถึงให้ลึกสักนิดจะเห็นว่าถุงกระดาษมีความจำเป็น และสำคัญ เพราะใช้งานได้หลากหลาย นอกจากใช้ใส่ของ ปิคาสโซ่ ยังสร้างสรรค์งานบนถุงกระดาษสีน้ำตาล และซอล สไตน์เบิร์ก ใช้ถุงกระดาษมาประดิษฐ์งานศิลปะเป็นรูปหน้ากาก ในเมืองไทยถุงกระดาษใส่กล้วยแขกของเราก็สร้างนักอ่านนักเขียนขึ้นจำนวนไม่น้อย

ในอเมริกา คนใช้ถุงกระดาษถึงประมาณปีละ ๔ หมื่นล้านใบในเมืองไทยก็มีคนพับถุงกระดาษขายร่ำรวยส่งลูกหลานเรียนได้สูง ๆ

แต่น่าแปลกที่ว่าถุงกระดาษอันเป็นสิ่งสำคัญที่แสนเรียบง่ายนี้ เพิ่งมีใช้กันมาเพียงร้อยกว่าปีเท่านั้น

ในระยะแรก คนใช้ถุงกระดาษก้นแหลมกัน การผลิตก็ใช้มือพับกระดาษแล้วทากาว ใช้ถุงแบบนี้กันมานาน ทั้งที่ก้นแหลม ๆ ของถุงทำให้วางตั้งไม่ได้ ใส่ของบางอย่างก็ไม่เหมาะ แต่ด้วยความไม่ได้ใส่ใจต่อเรื่องเล็กน้อยเช่นนี้ จึงใช้กันเรื่อยมา

จนปี ค.ศ. ๑๘๘๓ ชาร์ล สติลแวล อดีตทหารเกณฑ์ผู้ร่วมรบในสงครามกลางเมืองของสหรัฐฯ ได้คิดประดิษฐ์ถุงแบบใหม่ขึ้นมา ความเป็นนักประดิษฐ์ของเขาเริ่มต้นจากการหัดซ่อมแซมข้าวของต่าง ๆ จนในที่สุดต่อมาจึงสามารถคิดค้นเครื่องจักรผลิตถุงแบบใหม่สำเร็จ

ถุงแบบใหม่นี้ยังคงใช้กระดาษสีน้ำตาล แต่ทำเป็นทรงสี่เหลี่ยมมีสันพับเข้าเหมือนกับถุงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน เขาเรียกสิ่งประดิษฐ์ของเขาว่า 'ถุงเปิดได้' (Self-Opening Sack หรือย่อว่า S.O.S.) เพราะถือถุงสะบัดหน่อยปากถุงก็เปิดแล้ว

ถุงเอส โอ เอส เผยแพร่ไปอย่างรวดเร็ว เป็นที่นิยมของพ่อค้าตามร้านชำต่าง ๆ จุดขายของสินค้าชิ้นนี้อยู่ที่ เปิดออกง่าย พับหรือเก็บตั้งกองได้ไม่เกะกะเปลืองที่ ที่สำคัญที่สุดคือ บรรดาพ่อค้าชอบที่ถุงมหัศจรรย์นี้วางตั้งได้และเปิดออกกว้างได้ ใช้งานได้สะดวกกว่าถุงก้นแหลมมาก

ประมาณ ๕๐ ปีต่อมา ในสหรัฐอเมริกามีการเปิดร้านสรรพสินค้าขึ้น ก่อนหน้านี้ร้านค้าต่าง ๆ แต่ละร้านไม่มีสินค้าหลากชนิดให้เลือกนัก เมื่อมีร้านสรรพสินค้าขึ้นมาคนจึงฮือฮากันมากจำนวนร้านสรรพสินค้าผุดขึ้นเป็นดอกเห็ด พร้อม ๆ กับยอดใช้ถุงกระดาษก็เพิ่มตามไปด้วย เพราะร้านไหน ๆ ก็ใช้ใส่สินค้าให้ลูกค้า ถุงกระดาษของสติลแวลจึงแพร่หลายไปทั่วประเทศและทั่วโลก

ชาร์ล สติลแวล เสียชีวิตในวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๑๙๑๙ ที่เมืองเวน รัฐเพนซิลวาเนีย เขาคิดค้นสิ่งใหม่ให้แก่เพื่อนร่วมโลกมากมาย เช่น แผนที่บอกตำแหน่งดวงดาวสำหรับเคลื่อนย้ายไปใช้หรือแสดงตามที่ต่าง ๆ เครื่องพิมพ์ที่สามารถพิมพ์บนผ้าเคลือบกันน้ำ แต่ผลงานชิ้นเอกในชีวิตของเขา ได้แก่ สิ่งประดิษฐ์ที่จดทะเบียนสิทธิบัตรหมายเลข ๒๙๗,๕๐๕ ซึ่งก็คือเครื่องผลิตถุงกระดาษนั่นเอง

Credit :: sanook.com

วันเสาร์ที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐

:: Avocat ::



L'avocat est le fruit de l'avocatier (Persea americana), un arbre de la famille des lauracées (tout comme par exemple le laurier sauce et le cannelier), originaire d'Amérique Centrale.

Le mot avocat provient de l'espagnol, aguacate. Le terme aguacate provient à son tour du mot de langue nahuatl ahuacatl qui veut dire testicule, par analogie à la forme de cet organe.

Voculabulaire +
laurier = ใบไม้ชนิดหนึ่ง (ใช้ทำพวงมาลัยสวมศีรษะเป็นเกียรติ),มาลัย (ที่สวมศีรษะเป็นเกียรติ)
analogiee = อุปมาน,ความคล้ายคลึง
organe = องค์(การ),อวัยวะ,เครื่องมือ,ปากเสียง
terme = พจน์,ศัพท์,สำนวน,บั้นปลาย,ข้อตกลง

วันอังคารที่ ๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐

:: Christian Bautista - The Way You Look At Me ::

เพลงมันเก่าไปนิดแต่ก็เพราะนะ

ลองฟังกันดูนะ ^________^

:: Christian Bautista - The Way You Look At Me ::



No one ever saw me like you do

All the things that I could add up too

I never knew just what a smile was worth

But your eyes see everything without a single word

'Cause there's somethin' in the way you look at me

It's as if my heart knows you're the missing piece

You make me believe that there's nothing in this world I can't be

I never know what you see

But there's somethin' in the way you look at me

If I could freeze a moment in my mind

It'll be the second that you touch your lips to mine

I'd like to stop the clock, make time stands still

'Cause, baby, this is just the way I always wanna feel

[Repeat CHORUS]

I don't know how or why I feel different in your eyes

All I know is it happens every time

[Repeat CHORUS]

The way you look at me



วันอังคารที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐

:: La Cène ::



La Cène est une fresque, en huile et détrempe sur mur, de 460 cm sur 856 cm, de Léonard de Vinci, réalisée de 1494 à 1498 pour le couvent dominicain de Santa Maria delle Grazie à Milan.

Ce tableau représente la Cène (du latin cena qui signifie dîner, repas principal), dernier repas de Jésus de Nazareth entouré de ses douze apôtres qui se déroula le jeudi saint, veille de sa mort, dans la salle appelée le cénacle, sur la colline de Sion à Jérusalem.

Ludovico Sforza fut le commanditaire de cette œuvre qui orne le mur du réfectoire, au dessus d'une porte, de ce couvent dominicain.

Voculabulaire +
fresque = ภาพเขียนบนผนังและเพดานโบกปูน
huile = น้ำมัน,พวกบุญหนักศักดิ์ใหญ่
détrempe = ทำให้จืด,ทำให้ละลาย,แช่น้ำ
mur = ผนัง,กำแพง
commanditaire = หุ้นส่วนที่เป็นเสือนอนกิน
couvent = สำนักนางชี,อาราม